Blog Page 9

เช็กข้อมูลทางการเงินของคุณว่าปลอดภัยแค่ไหน?

เช็กข้อมูลทางการเงินของคุณว่าปลอดภัยแค่ไหน มาตรวจเครดิตบูโรอย่างสม่ำเสมอเพื่อรู้เท่าทันและป้องกันภัยไซเบอร์ทางการเงิน

▶ โมบายแอป
แบบส่งรายงานรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (NCB e-Credit Report) รับรายงานทางอีเมล

– ได้ทันที
☆ โมบายแบงก์กิ้ง จากธนาคารกรุงเทพ
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง
☆ แอป KKP Mobile ธนาคารเกียรตินาคินภัทร
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง

– ภายใน 24 ชม. (*เป็นไปตามเงื่อนไขที่เครดิตบูโรกำหนด)
☆ แอป Krungthai NEXT ธนาคารกรุงไทย
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง
☆ แอป MyMo ธนาคารออมสิน
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง
☆ เป๋าตังเปย์บนแอปเป๋าตัง
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง
☆ โมบายแอป Flash Express
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง

– ภายใน 3 วันทำการ
☆ แอป ttb touch ธนาคารทีทีบี
– ตรวจข้อมูลเครดิต

รับรายงานทางไปรษณีย์ลงทะเบียน ภายใน 7 วันทำการ
☆ แอป Krungthai NEXT ธนาคารกรุงไทย
– ตรวจข้อมูลเครดิตและเครดิตสกอริ่ง
☆ แอป MyMo ธนาคารออมสิน
– ตรวจข้อมูลเครดิตและเครดิตสกอริ่ง
☆ เป๋าตังเปย์บนแอปเป๋าตัง
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง
☆ โมบายแอป Flash Express
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง
☆ แอป ttb touch ธนาคารทีทีบี
– ตรวจข้อมูลเครดิต

ค่าบริการ
– รายงานข้อมูลเครดิต 150 บาท
– รายงานข้อมูลเครดิตและเครดิตสกองริ่ง 200 บาท
หมายเหตุ: กรุณาตรวจสอบชื่อ-นามสกุล ที่อยู่ อีเมล เบอร์โทรศัพท์ ให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน หากไม่ถูกต้อง กรุณาแก้ไขตามขั้นตอนที่ธนาคารกำหนดก่อนใช้บริการ

เช็กช่องทางการเครดิตบูโรเพิ่มเติม >>> http://bit.ly/2D5eZW3

ข้อมูลเพิ่มเติม
🌐www.ncb.co.th
💌 consumer@ncb.co.th
👥 Facebook : บริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จำกัด (เครดิตบูโร)
🖼 Instagram : www.instagram.com/ilovebureau
🎶 TikTok : www.tiktok.com/@ilovebureau
📲 Line : https://lin.ee/o0AQ8ya
▶️ YouTube : www.youtube.com/c/NationalCreditBureau
คลิก ▶️ https://linktr.ee/ilovebureau

 

ไม่พบข้อมูลเครดิตหรือประวัติการชำระหนี้ ในรายงานเครดิตบูโรของตนเอง

ไม่พบข้อมูลเครดิตหรือประวัติการชำระหนี้ในรายงานเครดิตบูโรของตนเอง อาจเป็นเพราะสาเหตุเหล่านี้!

รายงานข้อมูลเครดิตจะจัดเก็บประวัติการชำระหนี้ของเราจากการที่สถาบันการเงินที่เป็นสมาชิกเครดิตบูโรเป็นผู้ส่งข้อมูลมาให้ หากเรายื่นขอสินเชื่อกับธนาคารหรือสถาบันการเงินที่เป็นสมาชิกก็จะพบข้อมูลในระบบค่ะ แต่หากสถาบันการเงินนั้นไม่ได้เป็นสมาชิกเครดิตบูโรก็จะไม่พบข้อมูลในรายงานเครดิต

ต่อมาเรามาดูกันต่อดีกว่าว่า ในรายงานข้อมูลเครดิตจัดเก็บข้อมูลอะไรบ้าง?
1. ข้อมูลที่บ่งชี้ตัวตนลูกค้า เช่น ชื่อนามสกุล ที่อยู่ วันเดือนปีเกิด สถานภาพการสมรส เลขบัตรประชาชน ส่วนกรณีที่เป็นนิติบุคคล จะเป็น ชื่อ สถานที่ตั้ง เลขที่ทะเบียนนิติบุคคล เป็นต้น
2. ข้อมูลเกี่ยวกับสินเชื่อที่ได้รับการอนุมัติ และประวัติการชำระสินเชื่อ เช่น ผู้ให้สินเชื่อ วันที่เปิด-ปิดบัญชี วันที่ชำระหนี้ล่าสุด วงเงินสินเชื่อ สถานะบัญชี เป็นต้น
นอกจากข้อมูลประวัติการชำระสินเชื่อจากสถาบันการเงินที่ไม่ได้เป็นสมาชิกกับเครดิตบูโร ที่ไม่มีการเป็บในระบบเครดิตบูโรแล้ว ยังคงมีข้อมูลในส่วนอื่น ๆ อีก เช่น ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าบริการอินเทอร์เน็ต กยศ. เป็นต้น

ตรวจเครดิตบูโร เช็กสุขภาพการเงินของตนเองง่าย ๆ ได้ทุกที่ ทุกเวลา

▶ โมบายแอป
แบบส่งรายงานรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (NCB e-Credit Report)

– ได้ทันที
☆ โมบายแบงก์กิ้ง จากธนาคารกรุงเทพ
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง
☆ แอป KKP Mobile ธนาคารเกียรตินาคินภัทร
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง

– ภายใน 24 ชม. (*เป็นไปตามเงื่อนไขที่เครดิตบูโรกำหนด)
☆ แอป Krungthai NEXT ธนาคารกรุงไทย
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง
☆ แอป MyMo ธนาคารออมสิน
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง
☆ เป๋าตังเปย์บนแอปเป๋าตัง
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง
☆ โมบายแอป Flash Express
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง

– ภายใน 3 วันทำการ
☆ แอป ttb touch ธนาคารทีทีบี
– ตรวจข้อมูลเครดิต

รับรายงานทางไปรษณีย์ลงทะเบียน ภายใน 7 วันทำการ
☆ แอป Krungthai NEXT ธนาคารกรุงไทย
– ตรวจข้อมูลเครดิตและเครดิตสกอริ่ง
☆ แอป MyMo ธนาคารออมสิน
– ตรวจข้อมูลเครดิตและเครดิตสกอริ่ง
☆ เป๋าตังเปย์บนแอปเป๋าตัง
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง
☆ โมบายแอป Flash Express
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง
☆ แอป ttb touch ธนาคารทีทีบี
– ตรวจข้อมูลเครดิต

ค่าบริการ
– รายงานข้อมูลเครดิต 150 บาท
– รายงานข้อมูลเครดิตและเครดิตสกองริ่ง 200 บาท

หมายเหตุ: กรุณาตรวจสอบชื่อ-นามสกุล ที่อยู่ อีเมล เบอร์โทรศัพท์ ให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน หากไม่ถูกต้อง กรุณาแก้ไขตามขั้นตอนที่ธนาคารกำหนดก่อนใช้บริการ

เช็กช่องทางการเครดิตบูโรเพิ่มเติม >>> http://bit.ly/2D5eZW3

ข้อมูลเพิ่มเติม
🌐www.ncb.co.th
💌 consumer@ncb.co.th
👥 Facebook : บริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จำกัด (เครดิตบูโร)
🖼 Instagram : www.instagram.com/ilovebureau
🎶 TikTok : www.tiktok.com/@ilovebureau
📲 Line : https://lin.ee/o0AQ8ya
▶️ YouTube : www.youtube.com/c/NationalCreditBureau
คลิก ▶️ https://linktr.ee/ilovebureau

เช็กประวัติทางการเงิน ก่อนยื่นกู้สินเชื่อกับสถาบันการเงิน ต้องทำอะไรบ้าง

เช็กลิสต์เตรียมพร้อมก่อนยื่นกู้สินเชื่อกับสถาบันการเงิน มีเรื่องอะไรที่คนจะยื่นขอสินเชื่อต้องรู้บ้าง มาดูกัน! และก่อนตัดสินใจมาลองเช็กสุขภาพการเงินของตนเอง ตรวจเครดิตบูโรออนไลน์กันนะคะ

▶ โมบายแอป
แบบส่งรายงานรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (NCB e-Credit Report) รับรายงานทางอีเมล

– ได้ทันที
☆ โมบายแบงก์กิ้ง จากธนาคารกรุงเทพ
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง
☆ แอป KKP Mobile ธนาคารเกียรตินาคินภัทร
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง

– ภายใน 24 ชม. (*เป็นไปตามเงื่อนไขที่เครดิตบูโรกำหนด)
☆ แอป Krungthai NEXT ธนาคารกรุงไทย
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง
☆ แอป MyMo ธนาคารออมสิน
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง
☆ เป๋าตังเปย์บนแอปเป๋าตัง
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง
☆ โมบายแอป Flash Express
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง

– ภายใน 3 วันทำการ
☆ แอป ttb touch ธนาคารทีทีบี
– ตรวจข้อมูลเครดิต

รับรายงานทางไปรษณีย์ลงทะเบียน ภายใน 7 วันทำการ
☆ แอป Krungthai NEXT ธนาคารกรุงไทย
– ตรวจข้อมูลเครดิตและเครดิตสกอริ่ง
☆ แอป MyMo ธนาคารออมสิน
– ตรวจข้อมูลเครดิตและเครดิตสกอริ่ง
☆ เป๋าตังเปย์บนแอปเป๋าตัง
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง
☆ โมบายแอป Flash Express
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง
☆ แอป ttb touch ธนาคารทีทีบี
– ตรวจข้อมูลเครดิต

ค่าบริการ
– รายงานข้อมูลเครดิต 150 บาท
– รายงานข้อมูลเครดิตและเครดิตสกองริ่ง 200 บาท
หมายเหตุ: กรุณาตรวจสอบชื่อ-นามสกุล ที่อยู่ อีเมล เบอร์โทรศัพท์ ให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน หากไม่ถูกต้อง กรุณาแก้ไขตามขั้นตอนที่ธนาคารกำหนดก่อนใช้บริการ

เช็กช่องทางการเครดิตบูโรเพิ่มเติม >>> http://bit.ly/2D5eZW3

ข้อมูลเพิ่มเติม
🌐www.ncb.co.th
💌 consumer@ncb.co.th
👥 Facebook : บริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จำกัด (เครดิตบูโร)
🖼 Instagram : www.instagram.com/ilovebureau
🎶 TikTok : www.tiktok.com/@ilovebureau
📲 Line : https://lin.ee/o0AQ8ya
▶️ YouTube : www.youtube.com/c/NationalCreditBureau
คลิก ▶️ https://linktr.ee/ilovebureau

 

ระวังภัยร้ายการเงิน ถูกหลอกให้เปิดบัญชี

ระวังกลลวงมิจฉาชีพ! หลอกให้เปิดบัญชี แอบอ้างใช้ข้อมูลเราโดยไม่รู้ตัว

กลลวงมิจฉาชีพแบบใหม่ คือการหลอกล่อให้เหยื่อเปิดบัญชี โดยอ้างว่าเป็นบัญชีสำหรับใช้จ่ายออนไลน์ หรือรายรับจากอาชีพเสริม และเมื่อมีคนหลวงเชื่อเปิดบัญชีก็จะนำบัญชีนั้นไปกระทำผิดกฎหมาย เพื่อป้องกันไม่ให้ตกเป็นเหยื่อ และแพะรับบาปจากการกระทำผิด

วิธีป้องกันไม่ให้ตกเป็นเหยื่อจากกลลวงมิจฉาชีพ
1. อย่าหลงเชื่อคำชักชวนของมิจฉาชีพ
ตัวอย่างคำชักชวนของมิจฉาชีพ เช่น เปิดบัญชีหารายได้เสริม, เปิดบัญชีรับเงินทันที เป็นต้น

2. ตรวจสอบข้อมูลของบุคคลที่จะให้เปิดบัญชีให้ละเอียด
เช็กความน่าเชื่อถือของบุคคลนั้น ๆ ในละเอียดแม้ว่าจะเป็นคนสนิทกันก็ตาม มีที่มาที่ไปที่ชัดเจนหรือไม่

3. หลีกเลี่ยงการโอนเงินหรือรับเงินจากคนที่ไม่รู้จัก
มิจฉาชีพมักหลอกล่อด้วยวิธีการว่าโอนเงินผิดให้โอนเงินกลับ ซึ่งเราไม่ควรทำตามทันที เพราะการรับเงินจากคนไม่รู้จักมีความเสี่ยงสูงที่อาจตกเป็นเหยื่อมิจฉาชีพได้ ควรเช็กกับธนาคารหรือสถาบันการเงินให้ดีก่อน

4. เก็บหลักฐานการติดต่อไว้เป็นหลักฐาน
ถ้ามีการติดต่อสื่อสารให้เก็บหลักฐานการคุยไว้ เช่น แคปหน้าจอที่สนทนากัน เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการแจ้งความ

หากใครถูกหลอกไปแล้ว อย่าเพิ่งตกใจ ให้รีบติดต่อเจ้าหน้าที่ธนาคารเพื่อระงับบัญชีทันที และเก็บหลักฐานต่างๆ ไว้เป็นหลักฐานเพื่อแจ้งความดำเนินคดีกับมิจฉาชีพ หรือหมั่นตรวจเครดิตบูโรอย่างสม่ำเสมอเพื่อรู้เท่าทันและป้องกันภัยไซเบอร์ทางการเงินกันนะคะ

เช็กช่องทางการเครดิตบูโรเพิ่มเติม >>> http://bit.ly/2D5eZW3

ข้อมูลเพิ่มเติม
🌐www.ncb.co.th
💌 consumer@ncb.co.th
👥 Facebook : บริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จำกัด (เครดิตบูโร)
🖼 Instagram : www.instagram.com/ilovebureau
🎶 TikTok : www.tiktok.com/@ilovebureau
📲 Line : https://lin.ee/o0AQ8ya
▶️ YouTube : www.youtube.com/c/NationalCreditBureau
คลิก ▶️ https://linktr.ee/ilovebureau

 

คลายข้อสงสัย ข้อมูลรายงานเครดิตบูโร

สงสัยไหมว่าข้อมูลในรายงานเครดิตบูโรจะมีการอัปเดตทุก ๆ กี่เดือน และรายละเอียดข้อมูลการชำระหนี้ต่าง ๆ ถูกจัดเก็บย้อนหลังไว้กี่ปี น้องบูโรเฉลยให้ค่ะ

○ ระยะเวลาการจัดเก็บข้อมูลย้อนหลังในรายงานเครดิตบูโร

เครดิตบูโรมีการจัดเก็บประวัติการชำระหนี้ไว้ไม่เกิน 3 ปี หรือ 36 เดือน จากวันที่ได้รับรายงานข้อมูลจากสถาบันการเงินที่เป็นสมาชิก เมื่อครบกำหนดประวัติข้อมูลดังกล่าวก็จะถูกลบออกไปจากฐานข้อมูลเครดิตบูโรโดยอัตโนมัติ หากเจ้าของบัญชีชำระหนี้ตรงต่อเวลาข้อมูลในรายงานเครดิตก็จะแสดงยอดหนี้เป็น 0 แต่หากเจ้าของบัญชีมีบัตรเครดิตที่ค้างชำระในเดือนสิงหาคมและต่อมาได้จ่ายหนี้และปิดบัญชีในเดือนกันยายนจะแสดงยอดหนี้เป็น 0 มีสถานะบัญชีเป็น “ปิดบัญชี” จนครบกำหนด 3 ปีค่ะ

○ การอัปเดตข้อมูลในรายงานเครดิตบูโร

สถาบันการเงินที่เป็นสมาชิกจะนำส่งข้อมูลให้กับเครดิตบูโรตามรอบการรายงานและจัดส่งข้อมูล ซึ่งเป็นการรายงานและส่งข้อมูลสินเชื่อแบบรายเดือน (Monthly Basis) ไม่ใช่รายงานและส่งข้อมูลสินเชื่อแบบทันที (Real Time) ตัวอย่างเช่น ข้อมูลการชำระหนี้หรือปิดบัญชีของเดือนสิงหาคม 2566 คุณสามารถตรวจสอบเครดิตบูโรได้ตั้งแต่วันที่ 30 กันยายน 2566 เป็นต้นไป

เช็กช่องทางการเครดิตบูโรเพิ่มเติม >>> http://bit.ly/2D5eZW3

ข้อมูลเพิ่มเติม
🌐www.ncb.co.th
💌 consumer@ncb.co.th
👥 Facebook : บริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จำกัด (เครดิตบูโร)
🖼 Instagram : www.instagram.com/ilovebureau
🎶 TikTok : www.tiktok.com/@ilovebureau
📲 Line : https://lin.ee/o0AQ8ya
▶️ YouTube : www.youtube.com/c/NationalCreditBureau
#เครดิตบูโร
คลิก ▶️ https://linktr.ee/ilovebureau

 

มิจฉาชีพระบาด ปี 66 คนโดนหลอกโอนเงินกว่า 800 บัญชี/วัน

วันนี้คุณตรวจเครดิตบูโรแล้วหรือยัง?
เพราะจากสถิติล่าสุดในปี 2566 พบว่า มิจฉาชีพหลอกให้โอนเงินเข้าบัญชีเฉลี่ยวันละกว่า 800 ราย ดังนั้นเพื่อรู้เท่าทันและป้องกันความปลอดภัยจากภัยไซเบอร์ทางการเงิน หมั่นตรวจเครดิตบูโรอย่างสม่ำเสมอกันนะคะ

▶ โมบายแอป
แบบส่งรายงานรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (NCB e-Credit Report) รับรายงานทางอีเมล

– ได้ทันที
☆ โมบายแบงก์กิ้ง จากธนาคารกรุงเทพ
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง
☆ แอป KKP Mobile ธนาคารเกียรตินาคินภัทร
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง

– ภายใน 24 ชม. (*เป็นไปตามเงื่อนไขที่เครดิตบูโรกำหนด)
☆ แอป Krungthai NEXT ธนาคารกรุงไทย
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง
☆ แอป MyMo ธนาคารออมสิน
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง
☆ เป๋าตังเปย์บนแอปเป๋าตัง
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง
☆ โมบายแอป Flash Express
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง

– ภายใน 3 วันทำการ
☆ แอป ttb touch ธนาคารทีทีบี
– ตรวจข้อมูลเครดิต

รับรายงานทางไปรษณีย์ลงทะเบียน ภายใน 7 วันทำการ
☆ แอป Krungthai NEXT ธนาคารกรุงไทย
– ตรวจข้อมูลเครดิตและเครดิตสกอริ่ง
☆ แอป MyMo ธนาคารออมสิน
– ตรวจข้อมูลเครดิตและเครดิตสกอริ่ง
☆ เป๋าตังเปย์บนแอปเป๋าตัง
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง
☆ โมบายแอป Flash Express
– ตรวจข้อมูลเครดิต และเครดิตสกอริ่ง
☆ แอป ttb touch ธนาคารทีทีบี
– ตรวจข้อมูลเครดิต

ค่าบริการ
– รายงานข้อมูลเครดิต 150 บาท
– รายงานข้อมูลเครดิตและเครดิตสกองริ่ง 200 บาท
หมายเหตุ: กรุณาตรวจสอบชื่อ-นามสกุล ที่อยู่ อีเมล เบอร์โทรศัพท์ ให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน หากไม่ถูกต้อง กรุณาแก้ไขตามขั้นตอนที่ธนาคารกำหนดก่อนใช้บริการ

แหล่งอ้างอิง : https://www.posttoday.com/business/690663

เช็กช่องทางการเครดิตบูโรเพิ่มเติม >>> http://bit.ly/2D5eZW3

ข้อมูลเพิ่มเติม
🌐www.ncb.co.th
💌 consumer@ncb.co.th
👥 Facebook : บริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จำกัด (เครดิตบูโร)
🖼 Instagram : www.instagram.com/ilovebureau
🎶 TikTok : www.tiktok.com/@ilovebureau
📲 Line : https://lin.ee/o0AQ8ya
▶️ YouTube : www.youtube.com/c/NationalCreditBurea u
คลิก ▶️ https://linktr.ee/ilovebureau

#เครดิตบูโร #ตรวจเครดิตบูโร #ภัยไซเบอร์ทางการเงิน #ธุรกรรมการเงิน

4 วิธี เสริมแกร่งสุขภาพการเงิน ทำง่าย เริ่มได้ทันที

สุขภาพการเงินไม่จำเป็นต้องทำให้เป็นเรื่องซับซ้อน เราสามารถเริ่มต้นบริหารจัดการการเงินให้แข็งแรงขึ้นมาได้ เพียงทำตามวิธีเหล่านี้ของน้องบูโรค่ะ

1. ตั้งเป้าหมายการใช้เงินทุกวัน
กำหนดเป้าหมายการเงินแต่ละวันล่วงหน้าให้แน่ชัดว่าใน 1 วัน เราจะต้องใช้จ่ายไปกับอะไรบ้าง ลิสต์รายจ่าย แพลนที่จะทำในวันนั้น ๆ เพื่อที่จะได้แบ่งงบประมาณใช้จ่ายได้ลงตัว

2. จัดสรรการเงินอย่างเป็นระบบ
ขอเวลาแค่ 15 นาทีในการบริหารจัดการเงิน โดยจัดสรรการเงิน หรือแบ่งเงินให้เป็นสัดส่วนตามที่เราคิดว่าจะใช้ เช่น ค่าใช้จ่ายประจำวันที่จำเป็นแบ่ง 50% ค่าใช้จ่ายส่วนตัวของตนเองแบ่ง 30% เก็บออมแบ่ง 20% เป็นต้น

3. ทบทวนการเงินทุกครั้งที่มีรายจ่าย
ก่อนนอนสัก 15 นาทีแบ่งเวลามาทบทวนค่าใช้จ่ายที่ใช้ไปในแต่ละวันสักนิด เพื่อเป็นการเช็กลิสต์และช่วยควบคุมรายจ่ายได้วันถัด ๆ ไปไม่ให้เกินงบประมาณที่ตั้งไว้ได้

4. ตรวจเครดิตบูโรออนไลน์รับรายงานทางอีเมล
การตรวจเครดิตบูโรถือเป็นอีกวิธีที่จะช่วยเช็กสุขภาพการเงินของเราได้ว่าในตอนนี้เป็นอย่างไร มีการค้างชำระหนี้ หรือเกิดหนี้งอกหรือไม่ รู้ผลและรอรับรายงานเครดิตบูโรได้ทันที

เช็กช่องทางการเครดิตบูโรเพิ่มเติม >>> http://bit.ly/2D5eZW3

ข้อมูลเพิ่มเติม
🌐www.ncb.co.th
💌 consumer@ncb.co.th
👥 Facebook : บริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จำกัด (เครดิตบูโร)
🖼 Instagram : www.instagram.com/ilovebureau
🎶 TikTok : www.tiktok.com/@ilovebureau
📲 Line : https://lin.ee/o0AQ8ya
▶️ YouTube : www.youtube.com/c/NationalCreditBureau
คลิก ▶️ https://linktr.ee/ilovebureau

คอลัมน์เครดิตบูโรคิดเป็นเห็นต่าง : เครดิตบูโรคืออะไร ตั้งมาเพื่ออะไร : หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ฉบับวันศุกร์ 17 พฤษภาคม 2567

เครดิตบูโรคืออะไร ตั้งมาเพื่ออะไร

เครดิตบูโร คือองค์กรหนึ่งที่ถูกตั้งขึ้นมาเพื่อจะรวมข้อมูลคนเป็นหนี้ ใครไปเป็นหนี้แบงก์ ใครไปเป็นหนี้นอน-แบงก์ จะมีองค์กรแบบนี้เป็นศูนย์กลางในการเก็บข้อมูลคนเป็นหนี้ ถ้าเปรียบเทียบ มันคือ “สมุดพกของคนเป็นหนี้” เหมือนว่าเราไปเรียนหนังสือที่มหาวิทยาลัยนั้นหรือที่โรงเรียนนั้น แล้วก็จะมีสมุดพกเพื่อรวบรวมว่าคนนี้มีผลการเรียนเป็นอย่างไร มันก็เหมือนกันกับว่า คนนี้มีหนี้ที่ไหนบ้าง แล้วปฏิบัติหนี้แต่ละก้อน แต่ละที่อย่างไร องค์กรนี้ในต่างประเทศและในประเทศไทย เรียกว่า “เครดิตบูโร” ครับ

หลายท่านคิดว่าสาเหตุที่สถาบันการเงินไม่ให้สินเชื่อ เพราะเครดิตบูโรขึ้น “บัญชีดำ” หรือที่ใคร ๆ เรียกกันทั่ว ๆ ไปว่า “ติด blacklist” ความจริงแล้วเป็นความเข้าใจที่ไม่ถูกต้องครับ เพราะ “เครดิตบูโร” จะมีหน้าที่ในการจัดเก็บ รวมรวบข้อมูลสินเชื่อและประวัติการชะรำหนี้สินเชื่อ โดยสถาบันการเงินที่เป็นสมาชิกมีหน้าที่รายงานและส่งข้อมูลให้แก่เครดิตบูโรเป็นรายเดือนทุกเดือน ทางเครดิตบูโรก็จะอัปเดตข้อมูลให้ในแต่ละเดือนไปเรื่อย ๆ ทั้งหมด 36 เดือน จำนวน 36 บรรทัด เรียงทับกันเหมือน “ขนมชั้น” เมื่อมีข้อมูลใหม่เข้ามา ข้อมูลบรรทัดเก่าของเมื่อ 36 เดือนที่แล้วก็จะหายไป มิได้มีหน้าที่ขึ้น “บัญชีดำ” หรือ “Blacklist” อย่างที่เข้าใจกันครับ

เมื่อท่านขอกู้เงินหรือสินเชื่อแล้ว สถาบันการเงินไม่อนุมัติเงินกู้ อาจมาจากหลายสาเหตุ เช่น นโยบายการปล่อยสินเชื่อของสถาบันการเงินหรือผู้ประกอบการแต่ละแห่งที่แตกต่างกัน ภาระหนี้ที่มีอยู่และความสามารถในการชำระหนี้ของผู้ขอสินเชื่อ โอกาสในการผิดนัดชำระหนี้มากหรือน้อย เป็นต้น รวมทั้งข้อมูลที่ปรากฏในเครดิตบูโรไม่เป็นไปตามเงื่อนไขของสถาบันการเงินที่ขอกู้ ซึ่งอาจเป็นผลมาจากท่านมีประวัติการชำระหนี้ที่ไม่ดี หรือผิดนัดชำระหนี้กับสถาบันการเงินอื่นครับ

เครดิตบูโรไม่มีความเกี่ยวข้องหรือมีสิทธิอนุมัติ หรือร่วมตัดสินใจให้สินเชื่อกับใคร บุคคลใดกล่าวอ้างกับท่าน แจ้งเรื่องได้ที่ consumer@ncb.co.th ศึกษารายละเอียดข้อมูลเครดิตบูโรเพิ่มเติมได้ที่ www.ncb.co.th

คอลัมน์เครดิตบูโรคิดเป็นเห็นต่าง : นิติบุคคลยื่นคำขอตรวจเครดิตบูโรได้ทางไหนบ้าง : หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ฉบับวันศุกร์ 3 พฤษภาคม 2567

นิติบุคคลยื่นคำขอตรวจเครดิตบูโรได้ทางไหนบ้าง

 

บทความวันนี้ ผมจะขอกล่าวถึงการยื่นคำขอตรวจเครดิตบูโรสำหรับนิติบุคคล โดยเหตุผลที่ต้องตรวจเครดิตบูโรแบบเจ้าของข้อมูลเครดิตที่เป็นนิติตบุคคล เพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือให้กับธุรกิจตนเอง  สร้างโอกาสในการยื่นของสินเชื่อหากมีเครดิตดี และแสดงตัวตนเบื้องต้นให้กับสถาบันการเงินว่าประกอบธุรกิจอะไร รวมทั้งเป็นการแสดงวินัยการเงิน ธุรกิจจากประวัติและสถานะบัญชีอีกด้วยครับ  สำหรับช่องทางและขั้นตอนการยื่นขอตรวจเครดิตบูโรแบบนิติบุคคล มีดังนี้ครับ

 

1 ยื่นคำขอตรวจแบบนิติบุคคล แบบรับรายงานได้เลย ที่ศูนย์ตรวจเครดิตบูโร อาคาร เดอะไนน์ ทาวเวอร์ส แกรนด์ พระรามเก้า ชั้น 2 (โซนธนาคาร) (ใกล้ MRT พระราม 9 และอยู่ด้านหลังห้างเซ็นทรัล พระราม 9) โดยเตรียมหลักฐาน ได้แก่  สำเนาหนังสือรับรองของนิติบุคคล อายุไม่เกิน 3 เดือน ลงนามรับรองโดยกรรมการผู้มีอำนาจ และประทับตราบริษัท (ถ้ามี) และสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม พร้อมรับรองสำเนาถูกต้อง

 

2 ยื่นคำขอตรวจทางไปรษณีย์ มรายละเอียดดังนี้ครับ

2.1 นิติบุคคลกรอกรายละเอียด “แบบคำขอตรวจสอบข้อมูลเครดิตนิติบุคคล” ที่เว็บไซต์เครดิตบูโร เมนู ดาวน์โหลดเอกสารคำขอ หรือคลิก  www.ncb.co.th/check-your-credit-bureau/request-credit-bureau-doc-download  พร้อมลงนามโดยกรรมการผู้มีอำนาจ และประทับตราบริษัท (ถ้ามี)   โดยแนบหลักฐานประกอบ ได้แก่ สำเนาหนังสือรับรองของนิติบุคคล อายุไม่เกิน 3 เดือน พร้อมลงนามรับรองโดยกรรมการผู้มีอำนาจ และประทับตราบริษัท (ถ้ามี) และสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม พร้อมรับรองสำเนาถูกต้อง

2.2 ชำระค่าบริการตรวจข้อมูลเครดิต เป็นแคชเชียร์เช็ค (Cashier Cheque)  สั่งจ่าย บริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จำกัด (รายละเอียดอัตราค่าบริการเลือกในแบบคำขอตรวจสอบข้อมูลเครดิตนิติบุคคล หรือได้ที่เว็บไซต์เครดิตบูโร เมนู ตรวจเครดิตบูโรสำหรับนิติบุคคลทางไปรษณีย์ หรือคลิก  www.ncb.co.th/check-your-credit-bureau/corporate-check-credit-bureau-at-postoffice

2.3 จัดส่งเอกสารหลักฐานทางไปรษณีย์ลงทะเบียน จ่าหน้าถึง บริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จำกัด ส่วนบริการตรวจเครดิตบูโร (กรณีตรวจสอบข้อมูลนิติบุคคล) เลขที่ 33/4 อาคารเดอะไนน์ ทาวเวอร์ส แกรด์ พระรามเก้า ชั้น 2 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

2.4 รายงานข้อมูลเครดิตจะจัดส่งให้กรรมการผู้จัดการ ตามที่อยู่ที่ระบุไว้ในหนังสือรับรองของนิติบุคคลเท่านั้นครับ

 

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม สามารถติดต่อได้ที่ consumer@ncb.co.th ครับ

เรื่องน่าอ่าน